วันพุธที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

ปลาสลิด


ลักษณะทั่วไปของปลาสลิด
ปลาสลิดหรือปลาใบไม เปนปลานํ้าจืด ซึ่งเปนปลาพื้นบาน
ของประเทศไทย มีแหลงกําเนิดอยูในที่ลุมภาคกลาง มีชื่อวิทยาศาสตร
วา Trichogaster pecteralis   และนิยมเลี้ยงกันมาก   บริเวณภาคกลาง
สวนที่พบในประเทศเพื่อนบาน เชน กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย อินโด
นีเซีย อินเดีย ปากีสถาน ศรีลังกา และฟลิปปนสนั้น เปนพันธุปลาที่สง
ไปจากเมืองไทย   เมื่อประมาณ 80-90 ปที่ผานมา และเรียกวา สยาม
หรือเซียมสําหรับแหลงปลาสลิดที่มีชื่อเสียเปนที่รูสักวามีรสชาติดี เนื้ออรอย คือ ปลาสลิดบางบอ
จังหวัดสมุทรปราการ แตปจจุบันโรงงานอุตสาหกรรมไดขยายตัวอยางแพรหลายทําใหนํ้าธรรมชาติที่จะ
ระบายลงสูบอเลี้ยงปลาสลิดมีคุณสมบัติไมเหมาะสม    สวนพื้นที่ดินพรุทางภาคใตในเขตจังหวัด
นราธิวาส ซึ่งเปนดินเปรี้ยวก็สามารถใชเปนที่เลี้ยงปลาสลิดไดเพราะปลาสลิดเปนปลาที่เลี้ยงงาย อดทน
ตอความเปนกรด และนํ้าที่มีปริมาณออกซิเจนนอยไดดี มีหวงโซอาหารสั้น คือ กินแพลงกตอนเปน
อาหารตนทุนการผลิตตํ่าโดยจะเลี้ยงอยูในนาคนเลี้ยงปลาสลิดเรียกวา ชาวนาปลาสลิด และบอเลี้ยง
ปลาสลิดเรียก แปลงนาปลาสลิดหรือลอมปลาสลิด กรมประมงจึงไดสงเสริมใหเลี้ยงปลาสลิดในพื้นที่
จังหวัดอื่น เชน จังหวัดสมุทรสาคร เพื่อเพิ่มผลผลิตใหมีปริมาณเพียงพอตอการบริโภค และสงเปนสิน
คาออกในรูปผลิตภัณฑปลาสลิดเค็มตากแหง
อุปนิสัย
ปลาสลิดชอบอยูในบริเวณทีมีนํ้านิ่ง เชน หนอง บึง ตามบริเวณที่มีพันธุไมนํ้า เชน ผักและ
สาหราย เพื่อใชเปนที่พักอาศัยกําบังตัว และกอหวอดวางไข เนื่องจากปลาชนิดนี้โตเร็วในแหลงนํ้า
ธรรมชาติที่มีอาหารพวกพืช ไดแก สาหราย พืชและสัตวเล็กๆ จึงสามารถนําปลาสลิดมาเลี้ยงในบอและ
นาขาวไดเปนอยางดี
รูปรางลักษณะ
ปลาสลิดมีรูปรางคลายปลากระดี่หมอ แตขนาดโตกวา ลําตัวแบนขางมีครีบ ทองยาวครีบเดียว
สีของลําตัวมีสีเขียวออกเทา หรือมีสีคลํ้าเปนพื้นและมีริ้วดําพาดขวางตามลําตัวจากหัวถึงโคนหาง เกล็ด
บนเสนขางตัวประมาณ 42-47  เกล็ด ปากเล็กยืดหดได ปลาสลิดซึ่งมีขนาดใหญเต็มที่จะมีความยาว
ประมาณ 20 เซนติเมตร
โรค
ปลาสลิดไมคอยจะเปนโรครายแรง หากนํ้าในบอเสียจะสังเกตเห็นปลาขึ้นมาหายใจบนผิวนํ้า
เพราะออกซิเจนที่ละลายนํ้าไมเพียงพอ วิธีแกไขก็คือ ตองถายนํ้าเกาออกและระบายนํ้าใหมเขาหรือยาย
ปลาไปไวในบออื่น โดยเฉพาะมักจะเกิดเห็บปลา   ซึ่งมีลักษณะตวแบน   สีนํ้าตาลใสเกาะติดตามตัวปลา
มาดูดเลือดของปลากินความเจริญเติบโตของปลาชะงักลง ทําใหปลาผอม การกําจัดโดยระบายนํ้า
สะอาดเขาไปในบอใหมากๆ ตัวเห็บก็จะหายไปไดการปองกันโรคระบาดอีกประการหนึ่งก็คือ ปลาที่จะนํามาเปนพอแมพันธุ ถาปรากฏวา มีบาด
แผล ไมควรนําลงไปเลี้ยงรวมกันในบอ  เพราะปลาที่เปนแผลจะเปนโรคราและติดตอไปถึงปลาตัวอื่นได
(*) จากสภาพพื้นที่เลี้ยงปลาสลิดลดลง
การสืบพันธุ
ลักษณะเพศ
ลักษณะเพศ ปลาสลิดตัวผูและตัวเมียมีความแตกตางกัน ซึ่งสามารถสังเกตความแตกตางอยาง
เห็นไดชัด คือ ปลาตัวผูมีลําตัวยาวเรียว สันหลัง และสันทองเกือบเปนเสนตรงขนานกัน มีครีบหลังยาว
จรดหรือเลยโคนหางมีสีลําตัวเขมและสวยกวาตัวเมีย สวนตัวเมียมีสันทองยาวมนไมขนานกับสันทอง
และครีบหลังมนไมยาวจนถึงโคนหางสีตัวจางกวาตัวผู ในฤดูวางไขทองจะอูมเปงออกมาทั้งสองขาง
อัตราการปลอยพอแมพันธุปลาสลิด 1:1 เปนปลาขนาดกลาง นํ้าหนัก 10-12 ตัวตอกิโลกรัมดีที่สุด
การเพาะพันธุปลา
ปลาสลิด สามารถผสมพันธุแลวางไขไดเมื่อมีอายุ 7  เดือน ขนาดโตเต็มที่โดยเฉลี่ยจะมีขนาด
ตัวยาวประมาณ 6-7  นิ้ว หนัก 130-400  กรัม ปลาสลิดจะเริ่มวางไขตั้งแตเดือนเมษายนถึงเดือน
สิงหาคม หรือในฤดูฝน แมปลาตัวหนึ่งๆ จะสามารถวางไขไดหลายครั้ง แตละครั้งจะไดปริมาณไข
ประมาณ 4,000-10,000  ฟอง ในฤดูวางไข ทองแมปลาจะอูมเปงออกมาทั้งสองขาง ลักษณะของไข
ปลาสลิดมีสีเหลือง ทั้งนี้ ควรจัดที่ใหปลาสลิดวางไขภายในเดือนมีนาคม โดยหลังจากที่ไดกําจัดศัตรู
ระบายนํ้าเขา และปลอยพันธุปลาลงบอแลว ควรปลูกผักบุงรอบบริเวณชานบอ นํ้าลึกประมาณ 20-30 
เซนติเมตร ปลาสลิดจะเขาไปกอหวอดวางไข และลูกปลาวัยออนจะสามารถเลี้ยงตัวหลบหลีกศัตรูตาม
บริเวณชานบอนี้ได
การจัดการบอเพาะพันธุปลาสลิดเพื่อใหลูกปลามีอัตรารอดสูง
1. ระบายนํ้าเขาบอผานตะแกรงที่มีชองตาขนาด 1 มิลลิกรัม จนทวมชานบอโดยรอบใหมีระดับ
สูง 20-30  เซนติเมตร    ปลาจะเขากอหวอดวางไขมากขึ้นอาณาเขตบอก็จะกวางขวางกวาเดิมเปนการ
เพิ่มที่วางไข และที่เลี้ยงตัวลูกปลามากขึ้น
2.  สาดปุยมูล โคและมูลกระบือแหงบนบริเวณชานบอที่ไขนํ้าทวมขึ้นมาใหม ตามอัตราการใส
ปุย จะทําใหเกิดไรนํ้าและผักบนชานบอเจริญงอกงามขึ้นอีกดวย
3.  ปลอยใหผักขึ้นรกในบริเวณชานบอ ผักเหลานี้ปลาสลิดจะใชกอหวอดวางไข และเปนกําบัง
หลบหลีกศัตรูของลูกปลาในวัยออนจนกวาจะแข็งแรงเอาตัวรอดได
การวางไข
กอนปลาสลิดจะวางไข ปลาตัวผูจะเปนฝายเตรียมการเลือกสถานที่ และกอหวอดซึ่งเปนฟองนํ้า
ละลายไวในระหวางตนผักบุงโปรงไมหนาทึบเกินไป เชนเดียวกันปลากัดปลากริมและปลากระดี่ ปกติ
ปลาสลิดตัวเมียจะชอบวางไขในที่รมมากกวากลางแจง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น